วันศุกร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555

        สัปดาห์ที่  13


วันที่    7  กันยายน  2555
 เรียน  วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

         วันนี้อาจารย์สอน

    ว้นนี้อาจารย์ได้ แจก สีไม้คลอรีน 1 กล่อง จำนวน 12 สี  และ  แผ่นประดิษฐ์ตัวอักษร  คนละ  1 ชิ้น




จากนั้น  อาจารย์ ก็ได้ทบทวน บทเรียนให้แก่นักศึกษา  เรื่อง

   **  วิเคราะห์พัฒนาการทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


   -วิเคราะห์เด็ก  (พัฒนาการทางภาษา)


   -การสัมภาษณ์  (วิเคราะห์พัฒนาการทางภาษา)

   -การสังเกตพฤติกรรม ในสภาพจริง  (ไม่ได้ใส่ความรู้สึกของผู้สังเกต)

   -ใช้สื่อเมื่อจะดูความสามารถของเด็ก  เช่น  การใช้ นิทาน

   -สื่อ  ก็จะมี  เกม  นิทาน  เพลง  คำคล้องจอง  ปริศนาคำทาย

   -สื่อที่ใช้ให้เด็กได้เล่น คือ มุมประสบการณ์เสริมทักษะทางภาษา  ฟัง พูด อ่าน เขียน

มุมนิทาน  เทปเพลง เทปนิทาน (ฟัง) ,  กระดานเขียน (เขียน) ,  หุ่นนิ้วมือ หุ่นเงา (พูด)

   -มุมบล็กไม้  ควรอยู่ใกล้กับ มุมประสบการณ์ทางภาษา





   **  จัดประสบการณ์ทางภาษากับชีวิตประจำวัน






 
  -ทักทาย

  -เซ็นชื่อ , ลงชื่อ

   -แนะนำกิจกรรม เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง  สวดมนต์  เคารพธงชาติ

   -กิจกรรมในห้อง  (จันทร์-ศุกร์) เช่น  โฆษณา สิ่งของที่ชอบของรักของหวง 

 ประชาสัมพันธ์บอกกล่าว  เล่าข่าวของเด็ก  

   -บูรนาการเคลื่อนไหวและจังหวะ คือ การร้องเพลง , ทำท่าทางประกอบเพลง , 

บอกชื่อ-ทำท่าประกอบ ตามพยางค์

   -ศิลปะภาษา คือ ภาพในการสื่อสารเขียนเป็นภาษาให้เข้าใจ , เขีนยให้เป็นภาษา , 

การเขียนบรรยายใต้ภาพ 

   -การเขียนจะทำให้เด็กมีประสบการณ์และสามารถสื่อสารได้

   -นำภาพมาต่อกันเป็นเรื่องราว 

   -ขั้นนำ  เริ่มด้วยการ ร้องเพลง เล่านิทาน คำคล้องจอง แล้วนำเข้าสู่บทเรียน

   -ปริศนาคำทาย  ใช้คำถามในเชิงสร้างสรรค์ให้ติดต่อกัน

   -กลางแจ้งบูรณาการ  ปฏิบัติตามกติกา ข้อตกลง 

   -เกมการศึกษา  จิ๊กซอ , โดมิโน 

   -เรียงลำดับเหตุการณ์    ล็อตโด  ดูความสัมพันธ์  อนุกรม  อุปมา  อุปมัย


                                                                  สื่อชนิดต่างๆ


นิทาน




เกม




เพลง




คำคล้องจอง




ปริศนาคำทาย





                               รูปภาพของเกมส์ชนิดต่างๆ



เกมการศึกษา  หน่วยน้ำ



เกมการศึกษา  หน่วยสัตว์น่ารัก









เกมจิ๊กซอ




เกม โดมิโน





   
   






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น